กลับ
การยื่นโครงการวิจัยเพื่อขอรับการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เรื่อง ค่าธรรมเนียมการยื่นฯ ตรวจสอบสถานะโครงการวิจัยที่ยื่นขอเพื่อพิจารณารับรองฯ โครงการวิจัย ประจำปี 2561 โครงการวิจัย ประจำปี 2562 โครงการวิจัย ประจำปี 2563 โครงการวิจัย ประจำปี 2564 โครงการวิจัย ประจำปี 2565 คู่มือปฏิบัติและปฏิทินสำหรับนักวิจัยเพื่อขอยื่น Ethics NRRU ให้ครบถ้วน ขั้นตอนและแนวทางปฏิบัติในการยื่นขอเอกสารแบบฟอร์ม แบบฟอร์มปัจจุบันที่เกี่ยวข้อง : download (update 04.01.2565) Form-001 แบบตรวจสอบความสมบูรณ์ของเอกสารประกอบการยื่นขอพิจารณารับรองฯ Form-002.1 บันทึกข้อความขอเสนอโครงการวิจัยเพื่อรับการพิจารณารับรองฯ Form-002.2 แบบยืนยัน/รับทราบ โครงการวิจัยที่ไม่เข้าข่ายจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ Form-003 คำขอรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ Form-004 เอกสารคำชี้แจงอาสาสมัคร Form-005 เอกสารแสดงความยินยอมเข้าร่วมโครงการวิจัย Form-006 บันทึกข้อความขอรับรองการสอบผ่านโครงร่างวิจัยฯ (กรณีเป็นนักศึกษา) Form-007 บันทึกข้อความขอชี้แจงข้อแก้ไขตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการฯ Form-008 แบบสรุปผลการดำเนินงานวิจัยเพื่อแจ้งปิดโครงการวิจัยต่อคณะกรรมการฯ Form-009 แบบประเมินระดับความเสี่ยงสำหรับงานวิจัยในมนุษย์ Form-Research Protocol โครงร่างการวิจัยที่เกี่ยวข้อง (จำเป็นทุกข้อ)
** กรุณาชำระค่าธรรมเนียมตามประกาศมหาวิทยาลัย และแนบหลักฐานมาพร้อมกับเอกสารโครงการวิจัยฯ ** (สำเนา) เลขที่บัญชีออมทรัพย์ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด(มหาชน) สาขา ม.ราชภัฏนครราชสีมา
อัปเดตข้อมูลล่าสุดวันที่ 20 มิถุนายน 2565 เวลา 14.50 น. โดย : SUDARAT.M
จริยธรรมการวิจัยในคน (วช.) จรรยาบรรณวิชาชีพวิจัยและแนวปฏิบัติ (วช.) พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 จริยธรรมการวิจัยการดูแลสุขภาพในประเทศกำลังพัฒนา (ก.ย.2552) รายงานเบลมองต์ (The Belmont Report) มิถุนายน 2551 กฎนูเรมเบิร์ก (NUREMBERG CODE, 1947) ปฏิญญาเฮลซิงกิของแพทยสมาคมโลก ค.ศ. 2008 (Declaration of Helsinki) (มิ.ย.2553) แนวทางจริยธรรมสากลสำหรับการวิจัยในมนุษย์ (CIOMS-International-Guideling) (ส.ค.2552) เว็บไซต์สำนักงานมาตรฐานการวิจัยในคน : วช. ชมรมจริยธรรมการวิจัยในคนในประเทศไทย : FERCIT CREC อบรมจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ (ออนไลน์) ฟรี!! ไม่มีค่าใช้จ่าย สำนักงานมาตรฐานการวิจัยในคน สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) http://ohrs.nrct.go.th/E-learning/Student-Register บุคคลทั่วไป นักศึกษา นักวิจัย สามารถเรียนรู้ผ่านระบบการเรียนรู้ของทางสำนักงานมาตรฐานการวิจัยในคนแห่งชาติได้ เมื่อทำข้อสอบผ่านจะได้รับใบประกาศนียบัตร จริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ http://www.medtu.org/GCP นักวิจัย สามารถเรียนรู้ศึกษาแนวทางการปฏิบัติการวิจัยคลินิกที่ดี (ICH-GCP:E6(R2)) ก่อนทำแบบสอบถามออนไลน์ได้ เมื่อทำข้อสอบผ่านจะได้รับใบประกาศนียบัตร สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) *จดลิขสิทธิ์ สวทช. เท่านั้น* https://elearn.career4future.com/course/human-research-ethics/ หลักสูตร “จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ (Human Research Ethics)” รวบรวมเนื้อหาและสิ่งสำคัญที่ผู้วิจัยต้องคำนึงถึงเมื่อจะดำเนินการวิจัยในมนุษย์ เช่น หลักจริยธรรมพื้นฐานของการวิจัยในมนุษย์ ได้แก่ หลักความเคารพในบุคคล (Respect for Persons) หลักคุณประโยชน์ไม่ก่ออันตราย (Beneficence) และหลักความยุติธรรม (Justice) เป็นต้น นักวิจัยสามารถเรียนรู้บทเรียนและทำแบบทดสอบผ่านจะได้รับใบรับรอง CITI Program : Good Clinical Practice (GCP) https://about.citiprogram.org เป็นโปรแกรมออนไลน์สำหรับอบรมด้านการปฏิบัติการทางคลินิกที่ดี Good Clinical Practice (GCP) ประกอบด้วยเนื้อหาการวิจัยด้านต่าง ๆ ได้แก่ Good Laboratory Practice (GLP), Animal Care and Use (ACU), Biosafety and Biosecurity (BSS), Good Clinical Practice (GCP), Information Privacy and Security (IPS), Responsible Conduct of Research (RCR), Conflicts of Interest (COI), Human Subjects Research (HSR) เป็นต้น เมื่อทำข้อสอบผ่านจะได้รับใบประกาศนียบัตร Protecting Human Research Participants; PHRP course http://phrp.nihtraining.com/ เป็นหลักสูตรที่ออกแบบโดย National Institutes of Health (NIH) : เพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ หลักสูตรมีเนื้อหาให้ผู้เรียนสามารถศึกษาด้วยตนเอง เกี่ยวกับแนวความคิดพื้นฐานและประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการปกป้องสิทธิ และสวัสดิภาพของอาสาสมัครผู้เข้าร่วมการวิจัย เมื่อทำข้อสอบผ่านจะได้รับใบประกาศนียบัตร จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์เบื้องต้น มหาวิทยาลัยนเรศวร https://lms.thaimooc.org/courses/course-v1:NU+NU042+2020/about หลักสูตรนี้ได้ผ่านการรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการหลักจริยธรรมการวิจัยพื้นฐาน และวิวัฒนาการของจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ การประเมินความเสี่ยง-ประโยชน์ จริยธรรมของการวิจัยในกลุ่มเปราะบาง ความเป็นส่วนตัว การรักษาความลับของอาสาสมัคร และการขัดแย้งทางผลประโยชน์ เอกสารและกระบวนการขอความยินยอม การพิจารณาโครงร่างการวิจัยครั้งแรก และการพิจารณาภายหลังการรับรอง และเมื่อผู้เรียนได้ใบประกาศนียบัตรสามารถนำไปใช้ประกอบการยื่นขอรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของโครงการวิจัยได้
หน่วยจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา : อาคาร 9 ชั้น 4 เลขที่ 340 ถนนสุรนารายณ์ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 30000 ติดต่อ : โทรศัพท์ 044-009009 ต่อ 9460 E-mail: ethics@nrru.ac.th
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 340 ถ.สุรนารายณ์ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000 โทรศัพท์ 044-009009 ต่อ 9460 โทรสาร 044-272941 E-mail : wijaikorat@nrru.ac.th
โปรดตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ ก่อนเข้าสู่การใช้งาน เว็ปไซต์สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา